เทศบาลตำบลเวียงตาล ยินดีต้อนรับ
Toggle Navigation
  • หน้าหลัก
  • ข้อมูลเทศบาล
    • ข้อมูลเทศบาล
      • คำแถลงนโยบาย
      • ข้อมูลพื้นฐาน
        • ข้อมูลผู้สูงอายุตำบลเวียงตาล
      • อำนาจหน้าที่
      • วิสัยทัศน์/พันธกิจ
      • ตราสัญลักษณ์
      • เกียรติประวัติ
      • เวียงตาลเมืองน่าเที่ยว
        • สถานที่ท่องเที่ยว
        • ปราชญ์ชาวบ้าน
        • ลานกีฬาตำบลเวียงตาล
        • ข้อมูลกลุ่มอาชีพ
      • นวัตกรรมท้องถิ่น
    • บุคลากร
      • โครงสร้างองค์กร
      • โครงสร้างส่วนราชการ
      • คณะผู้บริหาร
      • สมาชิกสภาเทศบาล
      • หัวหน้าส่วนราชการ
      • พนักงานเจ้าหน้าที่
        • สำนักปลัดเทศบาล
        • กองคลัง
        • กองช่าง
        • กองการศึกษา
        • หน่วยตรวจสอบภายใน
    • ยุทธศาสตร์/แผนงาน
      • งานยุทธศาสตร์และงบประมาณ
        • เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
        • แผนการดำเนินงาน
        • โอน/แก้ไข เปลี่ยนแปลง คำชี้แจงงบประมาณรายจ่ายประจำปี
        • การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
        • แผนพัฒนาท้องถิ่น
    • งานการเจ้าหน้าที่
      • แผนอัตรากำลัง
      • แผนพัฒนาบุคลากร
      • มาตรการส่งเสริมคุณธรรมฯ
      • หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
  • ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
    • ประกาศ/คำสั่ง
    • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
      • ข่าวประกวดราคา/จัดซื้อจัดจ้าง
      • ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
      • แผนการจัดซื้อจัดจ้าง/แผนจัดหาพัสดุ
    • คู่มือปฏิบัติงาน
    • เทศบัญญัติตำบล
    • การจัดการองค์ความรู้(KM)
  • เอกสาร/รายงาน
    • แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
    • แผนป้องกันและปราบปรามการทุจริต
    • การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
    • รายงานการประชุมสัญจร
    • กิจการสภา
      • ข่าวสารสภาเทศบาล
      • กำหนดเรียกประชุมสภา
      • กำหนดสมัยประชุมสภา
      • รายงานการประชุมสภา
      • ประกาศ/คำสั่งกิจการสภา
      • ระเบียบสภาเทศบาล
    • รายงานอื่นๆ
      • รายงานทางการเงิน
      • รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
      • สถิติการให้บริการประชาชน
      • สรุปผลการดำเนินงานรับเรื่องร้องเรียนการทุจริต
      • รายงานผล ITA ประจำปี
      • ผลการดำเนินงานประจำปี
      • รายงาน/เอกสาร หน่วยตรวจสอบภายใน
      • รายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี
      • รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
      • รายงานการป้องกันการทุจริต
    • รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่
    • แบบสรุปรายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดอันอาจคำนวณเป็นเงินได้
    • ข้อมูลสถิติการให้บริการ ของเทศบาลตำบลเวียงตาล
  • บริการประชาชน
    • e-Service
    • คู่มือประชาชน
      • คู่มือประชาชน สำนักปลัด
    • แบบมาตรฐานงานก่อสร้าง
    • เอกสารเกี่ยวกับการจัดเก็บขยะมูลฝอยเทศบาลตำบลเวียงตาล
    • ซ่อมแซมระบบไฟฟ้าแสงสว่าง
    • เอกสารการเลือกตั้ง
  • กระดานสนทนา
  • ติดต่อเรา
    • แผนผังเว็บไซด์
    • หมายเลขโทรศัพท์ติดต่อส่วนงานต่างๆ
    • แผนที่ตั้งสำนักงานเทศบาล
    • ติดต่อเทศบาล
  • ค้นหา
  • ข่าวสารการเลือกตั้ง
  • คุณอยู่ที่:  
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลเทศบาล
  • ข้อมูลเทศบาล
  • ข้อมูลพื้นฐาน
  • ข้อมูลเทศบาล
  • ข้อมูลพื้นฐาน
Recommend Print

ข้อมูลพื้นฐาน

Hits
15042 views
  • Created
    วันพฤหัสบดี, 05 พฤศจิกายน 2563
Page 1 of 5

 อุนสาวรีย์เจ้าพ่อขุนตาน (พระเบิก)

ตราสัญลักษณ์ เทศบาลตำบลเวียงตาล

Download ตราสัญลักษณ์ เทศบาลตำบลเวียงตาล  ภาพสี   ลายเส้นขาวดำ

 

  ตราสัญลักษณ์เทศบาลตำบลเวียงตาลเป็นรูปอนุสาวรีย์เจ้าพ่อขุนตาล หมายถึง เจ้าพ่อขุนตาลหรือ พระยาเบิกเป็นผู้สร้างเมืองเวียงต้านขึ้น (ปัจจุบันเวียงตาล) เพื่อต้านทัพของพระยาเม็งราย ซึ่งยกทัพเข้ามาเพื่อรบเข้าตีเมืองลำปาง (เขลางค์นคร) และได้สู้รบจนถูกจับและนำไปฝัง จึงร่วมใจกันสร้างอนุสาวรีย์เจ้าพ่อขุนตาลขึ้น ณ บริเวณเมืองเวียงต้านในอดีตยังปรากฏร่องรอยให้เห็นอยู่จนถึง ปัจจุบันอยู่ในตำบลเวียงตาล อาเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง


  ประวัติเจ้าพ่อขุนตาน
             พญาเบิกหรือเจ้าพ่อขุนตาน    เป็นเจ้าเมืองเขลางค์นครและเจ้าเมืองต้าน เป็นราชบุตรของพญายีบา เจ้าเมืองหรภุญชัย (ลำพูน) ในราชวงศ์จามเทวีและเป็นธรรมเนียมและพระราชประเพณีราชวงศ์จามเทวี ราชบุตรองค์ใดก่อนขึ้นครองราชย์ นครหริภุญชัย จะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นพระยุพราชไปครองเมืองเขลางค์นครเสียก่อน  เมื่อปี พ.ศ. ๑๘๑๔  ครั้งพญายีบาเป็นเจ้าครองนครหริภุญชัย  ก็ได้ให้พญาเบิก  หรือ    เจ้าพ่อขุนตาน  ราชบุตรไปครองเมืองเขลางค์นคร กระทั่งปี พ.ศ. ๑๘๒๔ กองทัพพญาเม็งราย  เจ้าเมืองเชียงรายและเจ้าเมืองฝางยกกองทัพมาตีเมืองหริภุญชัยแตก และยึดเมืองได้ พญายีบาจึงเสด็จหนีการรบไปพึ่งพญาเบิกผู้เป็นราชบุตรที่เมืองเขลางค์นคร เจ้าพญาเบิกจึงสะสมไพร่พลเพื่อป้องกันความมั่นคงของเมืองเขลางค์นคร  เจ้าพญาเบิกจึงไปสร้างเมืองต้านศึก  ขึ้นในพื้นที่บริเวณแห่งหนึ่งในเขตอำเภอห้างฉัตร ใกล้ทิวเขาใหญ่เมืองนั้นต่อมามีนามว่า  “เวียงต้าน” ส่วนทิวเขาสูงยาวเหยียดคั่นระหว่างลำปางและลำพูน  ซึ่งเป็นแนวทางวางกำลังไพร่พล  ตีสกัดกองทัพพญาเม็งราย  ต่อมาเรียกว่า“ดอยขุนต้าน”ซึ่งปัจจุบันก็คือดอยขุนตาน      การสู้รบที่เวียงต้านตามแนวเขาขุนต้านเป็นการสู้รบอย่างหนัก  ที่สุดก็พ่ายแพ้แก่กองทัพพญาเม็งราย  เจ้าพญาเบิกและเจ้าพญายีบาจึงถอยทัพร่นลงมาติดหล่มหนองใหญ่แห่งหนึ่ง  ปัจจุบันคือบ้านหลิ่งก้าน  ตำบลหนองหล่ม  อำเภอห้างฉัตร   นั่นเอง   

 

พญาเบิก หรือเจ้าพ่อขุนตาน เป็นยอดนักรบที่มีความคงกระพันชาตรีและมีกุสโลบาย  ในการวางแผนการรบอย่างลึกซึ้ง ฉกาจฉกรรจ์ เช่น การตั้งทำเลเวียงต้าน การซุ่มรี้พลจู่โจม    ตีข้าศึกแบบกองโจรตามแนวเขา  รบกวนกองทัพพญาเม็งราย ที่จะเข้าตีให้ถึงเมืองเขลางค์นคร   นับว่าเป็นอัจฉริยะในการรบเป็นอย่างยิ่ง ขณะที่พญาเบิกเสียทัพอย่างสิ้นเชิง จนถึงจับตัวได้ ก็ไม่สามารถจะใช้ศาสตราวุธใดๆ สังหารได้  เนื่องจากความคงกระพันชาตรีของท่าน  ทหารจึงนำตัวไปขุดหลุมฝังทั้งเป็น   จนสิ้นพระชนม์ ณ ดอยแห่งหนึ่งบนทิวเขาขุนตาน  ปัจจุบันเรียกว่า  “ดอยพญาลำปาง”       อยู่ในเขตรอยต่อระหว่างบ้านทุ่งเกวียน   ตำบลเวียงตาล  กับบ้านแม่ยามเหนือ ตำบลเมืองยาว  อำเภอห้างฉัตร  จังหวัดลำปาง  เขตติดต่ออำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูน จากประวัติวีรกรรมความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว ในการต่อสู้กับข้าศึกผู้รุกรานเมืองเขลางค์นครและความกตัญญูกตเวทิตาต่อพระบิดา              ของเจ้าพญาเบิก  ในครั้งนั้นทำให้ชาวอำเภอห้างฉัตรตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันต่างจดจำและสำนึกในเกียรติคุณอันยิ่งใหญ่ไพศาลมิรู้ลืม  จึงพร้อมใจกันกำหนดให้มีงานพิธีบวงสรวงดวงวิญญาณของพญาเบิก  หรือเจ้าพ่อขุนตานเป็นประจำทุกปี เพื่อเป็นการรำลึกถึงเกียรติคุณความดี และวีรกรรมอันกล้าหาญของเจ้าพ่อขุนตาน  ตลอดจนเพื่อให้เกิดความ   เป็นสิริมงคล  ความสมบูรณ์พูนสุขแก่บ้านเมืองและประชาชนสืบมา

“เมืองโบราณเวียงต้านและเวียงรมณีย์”

เวียงต้านและเวียงรมณีย์  เป็นเวียงคู่แฝด ที่กำเนิดมาคนละช่วงยุคสมัย  เวียงรมณีย์  ถ้าดูตามหลักฐานของรอบภูมิประเทศที่เหลืออยู่เชื่อได้เลยว่า   เวียงรมณีย์เป็นเวียงที่กำเนิดก่อนและเป็นเวียงเล็ก  ที่อยู่คนละฝั่งลำน้ำแม่ตาล    เป็นเวียงที่มีกำแพงเมืองและคูเมืองที่ไม่เป็นรูปเรขาคณิต ปัจจุบันแทบไม่เหลือร่องรอยความเป็นเวียง  พื้นที่เวียงถูกบุกรุกครอบครอง  เป็นที่ทำกินของชาวบ้านโดยรอบกันหมด เวียงต้านเป็นเวียงที่เหลือร่องรอยคูเมือง (คือเมือง)  และกำแพงเมืองจากการสังเกตดูการขุดคือเมืองและการสร้างกำแพงเมืองพบว่า  เวียงต้านคงมีการอยู่อาศัย  และก่อสร้างเมือง / เวียง ๒–๓  ยุค  จะเห็นได้จากการขุดเมือง และสร้างกำแพงเมืองออกเป็น ๓ ส่วน คล้ายรูปตัว L) ดังแผนผัง ๑.  ยางคะตึก  เป็นสถานที่สำหรับชาวเมืองบูชาเทพยดา ทุกขี ด้วยกวางคำ  (โดยใช้สุนัขขนคำแทน) ยางคะตึกที่มี ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเวียงโบราณ , ๒.  ทุ่งตะคอก  เป็นสถานที่คุมขังนักโทษ / เชลย ,๓.  หนองอาบช้าง  เป็นสระ / หนองน้ำใช้อาบน้ำชำระร่างกายของช้าง   เจ้าเมือง , ๔.  บ่อน้ำโบราณที่มีขนาดไม่ใหญ่โตมากนัก อยู่กลางเวียงเป็นรูปวงกลมก่อสร้างด้วยอิฐดินเผา

 

  • ต่อไป

 

ลิขสิทธิ์ © 2565 เทศบาลตำบลเวียงตาล ยินดีต้อนรับ. สงวนลิขสิทธิ์. 
เลขที่ 352/3 หมู่ที่4 ตำบลเวียงตาล อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง 52190 โทร. 0 5433 8675  Fax 0 5426 9027 
 Email. Viangtan@viangtan-sao.go.th/ saraban-viangtan@lgo.mail.go.th
.

Today 17 Yesterday 69 Week 333 Month 1003 All 20917

Currently are 10 guests and no members online

Kubik-Rubik Joomla! Extensions

Back to Top

© 2025 เทศบาลตำบลเวียงตาล ยินดีต้อนรับ